สู้ โควิด-19 ไปด้วยกัน คู่มือดูแลตัวเองสำหรับประชาชน โดย ไทยรู้สู้โควิด กระทรวงสาธารณสุข และ สสส

by ร้านขายยาย่งเชียงตึ๊ง 永昌堂药店 Yong Chieng Pharmacy
Sun, 18 Apr 2021 08:00:00 +0000
Read full version

ทําความรู้จักโควิด-19 โควิด-19 ติดได้จาก 3 รู รูน้ําตา รูจมูก รูปาก

ทําความรู้จักโควิด-19

ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) เป็นเชื้อไวรัสที่สามารถ ก่อให้เกิดโรคทางเดินหายใจ หลังติดเชื้ออาจไม่มีอาการ หรืออาจมีอาการ ตั้งแต่ไม่รุนแรงคือ คล้ายกับไข้หวัดธรรมดา หรืออาจก่อให้เกิดอาการรุนแรง เป็นปอดอักเสบและเสียชีวิตได้

โควิด-19 ติดได้จาก 3 รู เข้าสู่คนผ่านทางการไอ จาม สัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่ง เช่น น้ํามูก น้ําลายของคน จึงมี 3 รูที่ต้องระวัง

รูน้ําตา

ไม่ขยี้ตา ดวงตามีช่องท่อระบาย น้ําตาที่เชื้อโรคสามารถผ่านเข้าไปได้

รูจมูก

ไม่แคะจมูก เชื้อโรคสามารถเข้าทางโพรงจมูกสู่ทางเดินหายใจได้

รูปาก

ไม่จับปาก ปากเป็นช่องร่วมที่ เชื้อโรคสามารถเข้าสู่ทางเดินหายใจต่อไป

ติดโควิดหรือเปล่า? เช็กสัญญาณและอาการได้ที่นี่

ติดโควิดหรือเปล่า? เช็กสัญญาณและอาการได้ที่นี่

จากการศึกษาผู้ป่วยในอู่ฮั่นที่ได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อโควิด-19 จนถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 จํานวน 55,924 คน ที่มา : Line@sabaideebot อ้างถึง Report of the WHO-China Joint Mission on Coronavirus Disease 2019

ใครบ้างที่เสี่ยงสูงติดโควิด-19 กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเชื้อ กลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวัง หากติดเชื้อ อาจมีอาการที่รุนแรง

ใครบ้างที่เสี่ยงสูงติดโควิด-19

กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเชื้อ

แยกตัวเพื่อสังเกตอาการ ณ ที่พัก 14 วัน

กลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวัง หากติดเชื้อ อาจมีอาการที่รุนแรง

ที่มา: ข้อมูลกลุ่มเสี่ยงจากโควิด-19 จากแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขตามมาตรการต่างๆ ในข้อกําหนด ออกตามความในมาตรการ 9 แห่งพ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1), กระทรวงสาธารณสุข, 30 มีนาคม 2563

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน Step 1 เตรียมที่พักและอุปกรณ์อย่างไรให้พร้อม

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน

Step 1 เตรียมที่พักและอุปกรณ์อย่างไรให้พร้อม

1) แยกห้องนอนและห้องน้ําออกจากผู้อื่น ห้องพัก โปร่ง มีอากาศถ่ายเท แสงแดดเข้าถึง) 2) แยกของใช้ส่วนตัว (เสื้อผ้า ผ้าห่ม ผ้าเช็ดตัว จาน ชาม ช้อน แก้วน้ํา) แยกทําความสะอาด 3) มีอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ เช่น ปรอทวัดไข้ แอลกอฮอล์เจลเข้มข้นอย่างน้อย 70% หน้ากากอนามัย สบู่ 4) มีอุปกรณ์ทําความสะอาด เช่น ถุงขยะ โดยจัดถังขยะที่มีฝาปิดมิดชิดไว้นอกบ้าน สารฟอกขาว น้ํายาทําความสะอาด

ที่มา : คําแนะนําการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), กระทรวงสาธารณสุข

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน Step 2 ข้อปฏิบัติกรณีอยู่บ้านคนเดียว

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน

Step 2 ข้อปฏิบัติกรณีอยู่บ้านคนเดียว

ที่มา : คําแนะนําการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), กระทรวงสาธารณสุข

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน ข้อปฏิบัติสําหรับผู้ที่ต้องกักตัว กรณีอยู่ร่วมกับครอบครัว / พักร่วมกับผู้อื่น

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน

ข้อปฏิบัติสําหรับผู้ที่ต้องกักตัว กรณีอยู่ร่วมกับครอบครัว / พักร่วมกับผู้อื่น

ที่มา : คําแนะนําการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (coVID-19), กระทรวงสาธารณสุข

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน ข้อปฏิบัติของคนในครอบครัว

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน

ข้อปฏิบัติของคนในครอบครัว

ที่มา : คําแนะนําการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), กระทรวงสาธารณสุข

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน ข้อปฏิบัติสําหรับผู้ที่ต้องกักตัว กรณีอยู่ในอาคารชุด (หอพัก คอนโดมิเนียม อพาร์ตเมนต์)

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน

ข้อปฏิบัติสําหรับผู้ที่ต้องกักตัว กรณีอยู่ในอาคารชุด (หอพัก คอนโดมิเนียม อพาร์ตเมนต์)

ที่มา : คําแนะนําการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), กระทรวงสาธารณสุข

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน ข้อปฏิบัติสําหรับผู้ดูแลอาคารชุด

เมื่อต้องกักตัว 14 วัน

ข้อปฏิบัติสําหรับผู้ดูแลอาคารชุด

ที่มา : คําแนะนําการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), กระทรวงสาธารณสุข

เมื่อไหร่ ควรไปหาหมอ

เมื่อไหร่ ควรไปหาหมอ

ที่มา : คําแนะนําการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), กระทรวงสาธารณสุข

ทําความเข้าใจ เส้นทางการรักษา โควิด-19 กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเชื้อ ตรวจไม่พบ โควิด-19

ทําความเข้าใจ เส้นทางการรักษา โควิด-19

1) กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเชื้อ

เพิ่งกลับจาก พื้นที่เสี่ยง / สัมผัสใกล้ชิด ผู้ป่วยสงสัยติดเชื้อ ตรวจร่างกายเพื่อหาเชื้อ โควิด-19 ระหว่าง 14 วัน มีไข้ อุณหภูมิ > 37.5 องศาเซลเซียส ร่วมกับอาการทางเดินหายใจ เช่น ไอ น้ํามูก เจ็บคอ หอบเหนื่อย -> * แจ้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ หรือ 1669 เพื่อประสานการรับตัวไปพบแพทย์ * ไม่ใช้รถสาธารณะในการเดินทาง สวมหน้ากากอนามัยระหว่างเดินทาง

2) ตรวจไม่พบ โควิด-19

แยกตัวเพื่อสังเกตอาการ ณ ที่พัก 14 วัน -> ครบ 14 วัน ไม่มีอาการ -> ดําเนินชีวิตตามปกติ * หลีกเลี่ยงสถานที่แออัด * ล้างมือบ่อยๆ รักษา 3 รู “ตา จมูก ปาก” * เว้นระยะการใกล้ชิด 2 เมตร และสวมหน้ากาก

ตรวจพบ “โควิด - 19” ต้องทําอย่างไร แพทย์จะแบ่ง 5 กลุ่ม ตามอาการ

ตรวจพบ “โควิด - 19” ต้องทําอย่างไร

ทุกรายต้องรับการดูแลในโรงพยาบาลก่อน 2-7 วัน

แพทย์จะแบ่ง 5 กลุ่ม ตามอาการ

กลุ่มที่ 1

ไม่มีอาการ (20% ของผู้พบเชื้อ) -> สังเกตอาการในโรงพยาบาล 2-7 วัน -> สังเกตอาการ ต่อที่หอผู้ป่วยเฉพาะ/โรงพยาบาลเฉพาะกิจ เช่น โรงแรมที่เรียกว่า ฮอสพิเทล (Hospitel) 14 วันนับจากตรวจพบเชื้อ -> เมื่อหายกลับบ้านตามปกติ ต้องใส่หน้ากากอนามัย ตลอดเวลาที่ออกไปนอกบ้าน/อยู่ห่าง 2 เมตร/แยกห้องทํางาน ไม่กินอาหารร่วมกัน จนครบ 1 เดือน

กลุ่มที่ 2

อาการไม่รุนแรงคล้ายไข้หวัด (อายุมากกว่า 60 ปี หรือเป็นโรคเรื้อรัง) ->รักษาตามอาการ/ ให้ยารักษาไวรัสในโรงพยาบาล 2-7 วัน -> สังเกตอาการต่อในฮอสพิเทล (Hospitel) จนครบ อย่างน้อย 14 วันนับจากมีอาการ -> เมื่อหายกลับบ้านจะต้องปฏิบัติเช่นเดียวกับกลุ่ม 1

กลุ่มที่ 3

อาการไม่รุนแรงคล้ายไข้หวัดปอดปกติ แต่มีปัจจัยเสี่ยง -> ให้ยารักษาไวรัสในโรงพยาบาล ติดตามปอด -> ส่งเข้าสังเกตอาการต่อในฮอสพิเทล (Hospitel) จนครบอย่างน้อย 14 วันนับจากมีอาการ -> เมื่อหายกลับบ้านจะต้องปฏิบัติเช่นเดียวกับกลุ่ม 1 และ 2

กลุ่มที่ 4

ปอดอักเสบไม่รุนแรง (12% ของผู้พบเชื้อ) ให้ยารักษาไวรัสในโรงพยาบาล

กลุ่มที่ 5

ปอดอักเสบรุนแรง (3% ของผู้พบเชื้อ) ให้ยารักษาไวรัสในห้องไอซียู

ที่มา : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2563

การดูแลตนเองสําหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน ในช่วงระบาดของ COVID-19 ผู้เป็นเบาหวานมีโอกาสเกิดการ ติดเชื้อ COVID-19 ได้รุนแรงกว่า สําหรับผู้เป็นเบาหวาน ควรระมัดระวังการหลีกเลี่ยงการติดเชื้อเป็นสิ่งสําคัญ

การดูแลตนเองสําหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน ในช่วงระบาดของ COVID-19

ผู้เป็นเบาหวานมีโอกาสเกิดการ ติดเชื้อ COVID-19 ได้รุนแรงกว่า

สําหรับผู้เป็นเบาหวาน ควรระมัดระวังการหลีกเลี่ยงการติดเชื้อเป็นสิ่งสําคัญ

ที่มา : สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ถ้าหากคุณเป็นเบาหวาน

ถ้าหากคุณเป็นเบาหวาน

ที่มา : สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

5 แนะนําวิธีดูแลเด็กอย่างไรในช่วงโควิด-19

5 แนะนําวิธีดูแลเด็กอย่างไรในช่วงโควิด-19

ที่มา : www.time.com

เลิกลด 10 พฤติกรรมเคยชิน เสี่ยงโควิด-19

เลิกลด 10 พฤติกรรมเคยชิน เสี่ยงโควิด-19

ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

เทคนิคล้างมือให้ห่างไกลไวรัสโควิด-19

เทคนิคล้างมือให้ห่างไกลไวรัสโควิด-19

1) เริ่มล้างด้วยน้ําและสบู่ ใช้ฝ่ามือถูกัน 2) ใช้ฝ่ามือถูหลังมือ และนิ้วถูซอกนิ้ว 3) ใช้ฝ่ามือถูฝ่ามือ และนิ้วถูซอกนิ้ว 4) ใช้หลังนิ้วถูฝ่ามือ 5) ใช้ฝ่ามือถูนิ้วหัวแม่มือโดยรอบ 6) ใช้ปลายนิ้วมือ ถูขวางฝ่ามือ 7) ใช้ฝ่ามือถูรอบข้อมือ

ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข

SOCIAL DISTANCING ระยะห่างทางสังคม และ 10 วิธีด้าน COVID-19

SOCIAL DISTANCING ระยะห่างทางสังคม และ 10 วิธีด้าน COVID-19

1) อย่าเข้าใกล้คนอื่นมากเกินไป เว้น 2 เมตร เลี่ยงการกระจายของเชื้อโรค 2) กักตัวอยู่ในบ้านให้มากที่สุด จะลดโอกาสติดโรคน้อยลงเมื่อไม่ได้ออกไปข้างนอก 3) อย่าจัดหรือเข้าร่วมการประชุม หรือการชุมนุมขนาดใหญ่ ลองเผชิญหน้ากับสังคมที่มีคนน้อย 4) หลีกเลี่ยงชั่วโมงเร่งด่วนและสถานการณ์ใดๆ ที่มีแนวโน้มดึงดูดคนจํานวนมาก เปลี่ยนกําหนดการให้ห่างจากชั่วโมงเร่งด่วน

SOCIAL DISTANCING ระยะห่างทางสังคม และ 10 วิธีด้าน COVID-19

5) อย่าไปสถานที่ทํางาน โรงเรียน โรงภาพยนตร์ กิจกรรมกีฬา หรือพื้นที่ผสมอื่นๆ ใช้การสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต เรียนทางไกลแทน 6) อย่ากอดหรือจูบ เปลี่ยนพฤติกรรมการสร้างสายสัมพันธ์ 7) หลีกเลี่ยงพื้นที่ในห้องที่แออัด หลีกเลี่ยงพื้นที่ต้องเข้าไปในสถานที่ปิด 8) หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการโต้ตอบอย่างใกล้ชิด เว้นระยะห่างการสื่อสารต่างๆ ที่เหมาะสม 9) ระวังการใช้สิ่งของสาธารณะ และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่คนอื่นสัมผัส เมื่อเจอสถานการณ์ที่ต้องสัมผัสบ่อย ให้ล้างมือทันที 10) อย่าไปในสถานที่ที่จําเป็น เช่น ร้านขายของชํา หรือห้องซักรีดรวม ในช่วงเวลาเร่งด่วน เลือกไปในเวลาทํางานหรือเช้าตรู่แทน

สร้างสิ่งแวดล้อมให้ปลอดเชื้อ TIPS ทําความสะอาดในราคาประหยัด

สร้างสิ่งแวดล้อมให้ปลอดเชื้อ

ไวรัสโคโรนาสามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นาน 2 ชั่วโมง - 9 วัน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ปนเปื้อนอยู่ในสภาพแวดล้อม องค์การอนามัยโลก ให้คําแนะนําสาร 3 ชนิดที่สามารถทําลายเชื้อไวรัสได้ภายในระยะเวลา 1 นาที ได้แก่ สารประกอบโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1% (เช่น น้ํายาฟอกขาวความเข้มข้น 1000 ppm) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% (5000 ppm) เช่น น้ํายาซักผ้าสี และแอลกอฮอล์ 62%-70%

TIPS ทําความสะอาดในราคาประหยัด

ห้องน้ํา ห้องส้วม

ใช้น้ํายาล้างห้องน้ําอย่างสม่ำเสมอ หรือทําลายเชื้อด้วยน้ํายาฟอกขาว (2 ฝา ต่อน้ํา 2 ลิตร) ขณะทําความสะอาดควรเปิดประตูเพื่อระบายอากาศ

พื้นบริเวณที่พัก อุปกรณ์เครื่องใช้ และจุดเสี่ยงที่สัมผัสบ่อยๆ เช่น ลูกบิด มือจับราวบันได ใช้น้ํายาฟอกขาว (2 ฝา ต่อน้ํา 2 ลิตร) ขณะทําความสะอาดควรเปิด ประตู/หน้าต่าง เพื่อให้มีการระบายอากาศ
ทําความสะอาดเสื้อผ้า ผ้าปูเตียง ปลอกหมอน ผ้าขนหนู ฯลฯ ด้วยสบู่หรือผงซักฟอกธรรมดาและน้ํา หรือซักผ้าด้วยน้ําร้อนที่ อุณหภูมิน้ํา 60-90 องศาเซลเซียส
หลังทําความสะอาดควรซักผ้าสําหรับเช็ดทําความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้ําผสมผงซักฟอก หรือน้ํายาฆ่าเชื้อ แล้วซักด้วยน้ําสะอาดอีกครั้ง และนําไปฝั่งตากแดดให้แห้ง

ที่มา : คําแนะนําสําหรับประชาชนในการทําความสะอาด ทําลาย และฆ่าเชื้อโรค ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

10 ท่า ด้าน COVID-19 ออกกําลังกายที่บ้าน ด้วยเก้าอี้ วันละ 30 นาที

10 ท่า ด้าน COVID-19 ออกกําลังกายที่บ้าน ด้วยเก้าอี้ วันละ 30 นาที

1) เตะเท้าไปข้างหน้า 45 วินาที/เซต - 3 เซต 2) ขยับแขนตั้งฉาก 45 วินาที/เซต - 3 เซต 3) เอนตัวไปข้างหน้า 45 วินาที/เซต - 3 แซต 4) อ้าขา-หุบขา 45 วินาที/เซต - 3 เซต 5) ซอยเท้าถี่ 45 วินาที/เซต - 3 เซต 6) ยืนเขย่งขึ้น-ลง 10 ครั้ง/เซต - 3 เซต 7) เหวี่ยงเท้าออก 10 ครั้ง/เซต - 3 เซต 8) ย่อเข่าขึ้น-ลง 10 ครั้ง/เซต - 3 เซต 9) โยกลําตัว 10 ครั้ง/เซต - 3 เซต 10) เหยียดน่อง 20 วินาที/เซต - 2 เซต

ที่มา : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และเครือข่ายคนไทยไร้พุง

แกว่งแขน ลดพุง ลดโรค ท่ากายบริหาร

แกว่งแขน ลดพุง ลดโรค

ท่ากายบริหาร

1) ยืนตรง แยกเท้า 2 ข้าง ให้ระยะห่าง เท่ากับหัวไหล่ นิ้วมือชิดกันโดยไม่เกร็ง หันฝ่ามือไปข้างหลัง 2) หดท้องน้อย เอวตั้งตรง ผ่อนคลาย จิกปลายเท้าลงกับพื้น กดส้นให้โคนเท้า โคนขา และท้องตึง 3) ขณะกายบริหาร หดกันให้แน่น งอบั้นท้าย ตามองทําสมาธิจดจ่ออยู่ที่เท้า 4) แกว่งแขนไปข้างหน้าเบาๆ ทํามุม 30 หายใจเข้าแกว่งไปด้านหลังแรงหน่อย ทํามุม 60 หายใจออกนับ 1 ครั้ง ทิ้งน้ําหนัก ลงมือให้เหมือนลูกตุ้มและต้องสะบัดมือ ทุกครั้งให้เลือดไหลเวียน มือใหม่เริ่มต้นทําวันละ 10 นาที แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นจนได้อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน

ที่มา : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และเครือข่ายคนไทยไร้พุง

ผัก ผลไม้ สมุนไพร 3 กลุ่ม ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันและต้านเชื้อไวรัส ตัวอย่างเมนต้านโควิด-19

ผัก ผลไม้ สมุนไพร 3 กลุ่ม ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันและต้านเชื้อไวรัส

ตัวอย่างเมนต้านโควิด-19

ที่มา : กรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

เทคนิคเลือกซื้ออาหาร ในช่วงหลบภัยโควิด-19 วางแผนซื้อของระหว่างเก็บตัวอย่างไรให้รอค! ใน 14 วัน

เทคนิคเลือกซื้ออาหาร ในช่วงหลบภัยโควิด-19

วางแผนซื้อของระหว่างเก็บตัวอย่างไรให้รอค! ใน 14 วัน

ที่มา : แววตา เอกชาวนา นักกําหนดอาหารวิชาชีพ

6 วิธียืดอายุผักผลไม้ คะน้า กวางตุ้ง ต้นหอม ผักชี กระเทียม หอมใหญ่ หอมแดง มะนาว ส้มเขียวหวาน มะม่วงสุก

6 วิธียืดอายุผักผลไม้

คะน้า กวางตุ้ง

ทิ้งใบแก่ -> ล้างแล้วผึ่งในตะกร้า -> ห่อทิชชู -> ใส่กล่อง

ต้นหอม ผักชี

ล้างน้ําให้สะอาด -> ใส่กล่องถนอมอาหาร -> เข้าตู้เย็น ไม่ต้องตัดราก

กระเทียม หอมใหญ่ หอมแดง

มะนาว

อยู่ได้นานเกิน 1 เดือน ถ้าเก็บในถุงกระดาษ หรือถุงที่มีรูระบายอากาศ -> นําไปแช่ตู้เย็นในช่องผัก

ส้มเขียวหวาน

วางไว้ในครัวที่ไม่ถูกแสงมากอยู่ได้นาน 4-5 วัน ส่วนที่เหลือแบ่งใส่กล่องพลาสติกไว้ในตู้เย็น

มะม่วงสุก

ล้างเปลือกให้สะอาด -> ซับน้ําให้แห้ง -> ปอกเปลือกนั่นเป็นชิ้นพอคํา -> ใส่กล่อง

ที่มา : แววตา เอกชาวนา นักกําหนดอาหารวิชาชีพ, ภาพประกอบโดย เพ็ญจุรี วีระธนาบุตร

สูตรการกินให้ไกลโรค 2:1:1 สูตรเด็ดพิชิตพุง 6:6:1 สูตรรสกลมกล่อมห่างไกลโรค

สูตรการกินให้ไกลโรค

2:1:1 สูตรเด็ดพิชิตพุง

6:6:1 สูตรรสกลมกล่อมห่างไกลโรค

รสหวาน มัน เค็ม หากปรุงมากจนเกินพอดีก็อาจส่งผลต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดความเสี่ยง ต่อการเป็นโรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไต ได้เช่นกัน

ที่มา : คู่มือ 8 เรื่องใกล้ตัว ชีวิตดีเริ่มที่เตจาก สสส., 2562

คําแนะนําในการดูแลสภาพจิตใจ ให้เข้มแข็งท่ามกลางวิกฤติ COVID-19 คุณมีอาการเหล่านี้หรือไม่ ถ้าคุณมีอาการเหล่านี้ ลองปรับพฤติกรรมตนเอง เพื่อรับมือกับสถานการณ์ในช่วงนี้ไปด้วยกัน

คําแนะนําในการดูแลสภาพจิตใจ ให้เข้มแข็งท่ามกลางวิกฤติ COVID-19

คุณมีอาการเหล่านี้หรือไม่

ถ้าคุณมีอาการเหล่านี้ ลองปรับพฤติกรรมตนเอง เพื่อรับมือกับสถานการณ์ในช่วงนี้ไปด้วยกัน

ที่มา : www.cdc.gov

3 สร้าง 2 ใช้ คาถาแก้จิตตก โควิด-19 3 สร้าง สร้างความปลอดภัย สร้างความสงบ สร้างความหวัง 2 ใช้ ใช้พลัง ใช้ความสัมพันธ์

3 สร้าง 2 ใช้ คาถาแก้จิตตก โควิด-19

3 สร้าง

สร้างความปลอดภัย

ล้างมือ สวมหน้ากากอนามัย รักษาระยะห่าง ไม่ติดใครและไม่รับเชื้อ

สร้างความสงบ

ออกกําลังกายและกําลังใจ รับส่งข่าวสารจาก แหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ

สร้างความหวัง

เพราะทุกฝ่ายพยายาม ร่วมกันเพื่อให้อยู่ในระดับ ที่เราสามารถรับมือได้

2 ใช้

ใช้พลัง

ให้เต็มที่ในการช่วยดูแลกัน

ใช้ความสัมพันธ์

ที่มีอยู่ในการให้กําลังใจฝ่าวิกฤติไปด้วยกัน

“เวลาที่เราเครียดทําให้ภูมิคุ้มกันเราตก เราควรอยู่ในระดับความกังวลที่พอดี คือ ตระหนัก แต่ไม่ตระหนก รู้จักป้องกันตนเองด้วยวิธีการพื้นฐาน ตระหนักรู้ว่าเราต้องทําอย่างไร หากกังวลน้อยไปก็ต้องเปลี่ยน แต่หากกังวลมากไปก็ไม่ดีต่อสุขภาพจิต แต่หากอยู่ใน ความพอดี คุณคือคนสําคัญที่จะเตือนคนรอบข้างของเราได้”

นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ที่ปรึกษากรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ

ทยจะสู้โควิดได้ คนไทยต้องรับผิดชอบตัวเอง และรับผิดชอบคนอื่นไปด้วยกัน

ไทยจะสู้โควิดได้ คนไทยต้องรับผิดชอบตัวเอง และรับผิดชอบคนอื่นไปด้วยกัน

ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ไทยรู้สู้โควิด https://resourcecenter.thaihealth.or.th/

แชร์บทความให้เพื่อน

Read on Full Site